กรมสรรพากร เปิดสอบบรรจุเข้ารับราชการ 103 อัตรา สมัครทางอินเตอร์เน็ต
ตำแหน่งที่เปิดรับสมัครสอบแข่งขัน
1 ตำแหน่ง : เจ้าพนักงานสรรพากรปฏิบัติงาน
อัตราเงินเดือน : ตามที่ ก.พ. กำหนด บาท
ประเภท : ทั่วไป ระดับปฏิบัติงาน
จำนวนตำแหน่งว่าง : 100 ตำแหน่ง
ระดับการศึกษา : – ปวส.
– อนุปริญญา
รายละเอียดวุฒิ : ได้รับประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นสูง (ปวส.) หรืออนุปริญญาหลักสูตร 3 ปี ต่อจากประกาศนียบัตรประโยคมัธยมศึกษาตอนปลายหรือเทียบเท่า หรือคุณวุฒิอย่างอื่นที่เทียบได้ในระดับเดียวกัน
ในสาขาวิชาการบัญชี สาขาวิชาการเงินและการธนาคาร สาขาวิชาการตลาด สาขาวิชาคอมพิวเตอร์ธุรกิจ
สาขาวิชาธุรกิจการค้าระหว่างประเทศ สาขาวิชาภาษาต่างประเทศธุรกิจ สาขาวิชาการจัดการโลจิสติกส์
สาขาวิชาการจัดการธุรกิจค้าปลีก สาขาวิชาการจัดการธุรกิจท่องเที่ยว สาขาวิชาการจัดการทั่วไป
สาขาวิชาการโฆษณาและการประชาสัมพันธ์ สาขาวิชาการเลขานุการ สาขาวิชาการโรงแรมและบริการ
สาขาวิชาการจัดการทรัพยากรมนุษย์ สาขาวิชาบริหารธุรกิจ สาขาวิชาการจัดการ หรือสาขาวิชาอุตสาหกรรมบริการ จากสถาบันการศึกษาที่ ก.พ.รับรอง และเป็นผู้สอบผ่านภาคความรู้ความสามารถทั่วไป (ภาค ก.)
ในระดับเดียวกันกับคุณวุฒิที่ใช้สอบหรือสูงกว่า
1 ตำแหน่ง : เจ้าพนักงานสรรพากรปฏิบัติงาน
อัตราเงินเดือน : ตามที่ ก.พ. กำหนด บาท
ประเภท : ทั่วไป ระดับปฏิบัติงาน
จำนวนตำแหน่งว่าง : 100 ตำแหน่ง
ระดับการศึกษา : – ปวส.
– อนุปริญญา
รายละเอียดวุฒิ : ได้รับประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นสูง (ปวส.) หรืออนุปริญญาหลักสูตร 3 ปี ต่อจากประกาศนียบัตรประโยคมัธยมศึกษาตอนปลายหรือเทียบเท่า หรือคุณวุฒิอย่างอื่นที่เทียบได้ในระดับเดียวกัน
ในสาขาวิชาการบัญชี สาขาวิชาการเงินและการธนาคาร สาขาวิชาการตลาด สาขาวิชาคอมพิวเตอร์ธุรกิจ
สาขาวิชาธุรกิจการค้าระหว่างประเทศ สาขาวิชาภาษาต่างประเทศธุรกิจ สาขาวิชาการจัดการโลจิสติกส์
สาขาวิชาการจัดการธุรกิจค้าปลีก สาขาวิชาการจัดการธุรกิจท่องเที่ยว สาขาวิชาการจัดการทั่วไป
สาขาวิชาการโฆษณาและการประชาสัมพันธ์ สาขาวิชาการเลขานุการ สาขาวิชาการโรงแรมและบริการ
สาขาวิชาการจัดการทรัพยากรมนุษย์ สาขาวิชาบริหารธุรกิจ สาขาวิชาการจัดการ หรือสาขาวิชาอุตสาหกรรมบริการ จากสถาบันการศึกษาที่ ก.พ.รับรอง และเป็นผู้สอบผ่านภาคความรู้ความสามารถทั่วไป (ภาค ก.)
ในระดับเดียวกันกับคุณวุฒิที่ใช้สอบหรือสูงกว่า
2 ตำแหน่ง : เจ้าพนักงานเครื่องคอมพิวเตอร์ปฏิบัติงาน
อัตราเงินเดือน : ตามที่ ก.พ. กำหนด บาท
ประเภท : ทั่วไป ระดับปฏิบัติงาน
จำนวนตำแหน่งว่าง : 3 ตำแหน่ง
ระดับการศึกษา : – ปวส.
– อนุปริญญา
รายละเอียดวุฒิ : ได้รับประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นสูง (ปวส.) หรืออนุปริญญาหลักสูตร 3 ปี ต่อจากประกาศนียบัตรประโยคมัธยมศึกษาตอนปลายหรือเทียบเท่า หรือคุณวุฒิอย่างอื่นที่เทียบได้ในระดับเดียวกัน
ในสาขาวิชาอิเล็กทรอนิกส์ สาขาวิชาเทคโนโลยีโทรคมนาคม สาขาวิชาเทคโนโลยีคอมพิวเตอร์ สาขาวิชาเทคโนโลยีอิเล็กทรอนิกส์ หรือสาขาวิชาคอมพิวเตอร์ จากสถาบันการศึกษา ที่ ก.พ. รับรอง และเป็นผู้สอบผ่านภาคความรู้ความสามารถทั่วไป (ภาค ก.) ในระดับเดียวกันกับคุณวุฒิที่ใช้สอบหรือสูงกว่า
ผู้ที่สนใจสามารถสมัครงาน ได้ทาง http://job.rd.go.th/
ประเภท : ทั่วไป ระดับปฏิบัติงาน
จำนวนตำแหน่งว่าง : 3 ตำแหน่ง
ระดับการศึกษา : – ปวส.
– อนุปริญญา
รายละเอียดวุฒิ : ได้รับประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นสูง (ปวส.) หรืออนุปริญญาหลักสูตร 3 ปี ต่อจากประกาศนียบัตรประโยคมัธยมศึกษาตอนปลายหรือเทียบเท่า หรือคุณวุฒิอย่างอื่นที่เทียบได้ในระดับเดียวกัน
ในสาขาวิชาอิเล็กทรอนิกส์ สาขาวิชาเทคโนโลยีโทรคมนาคม สาขาวิชาเทคโนโลยีคอมพิวเตอร์ สาขาวิชาเทคโนโลยีอิเล็กทรอนิกส์ หรือสาขาวิชาคอมพิวเตอร์ จากสถาบันการศึกษา ที่ ก.พ. รับรอง และเป็นผู้สอบผ่านภาคความรู้ความสามารถทั่วไป (ภาค ก.) ในระดับเดียวกันกับคุณวุฒิที่ใช้สอบหรือสูงกว่า
ผู้ที่สนใจสามารถสมัครงาน ได้ทาง http://job.rd.go.th/
ตั้งแต่ 12 พ.ค – 2 มิ.ย.59 ตลอด 24 ชั่วโมง ไม่เว้นวันหยุดราชการ
ค่าสมัครสอบ 330 บาท (รวมค่าธรรมเนียมธนาคารแล้ว)
ชำระเงินได้ที่ธนาคารกรุงไทย ทุกสาขา
แนวข้อสอบ กรมส่งเสริมอุตสาหกรรม ครอบคลุมทุกเนื้อหาที่เปิดสอบ
ความรู้เกี่ยวกับกรมส่งเสริมอุตสาหกรรม
ความรู้เกี่ยวกับกรมส่งเสริมอุตสาหกรรม
แนวข้อสอบ กรมสรรพกร ใหม่ล่าสุด
รวมทุกอย่างที่ออกข้อสอบ
- ความรู้เกี่ยวกับกรมสรรพกร
- แนวข้อสอบ กฎหมาย ระเบียบสำนักนายกรัฐมนตรีว่าด้วยพนักงานราชการ พ.ศ.2547
- แนวข้อสอบเกี่ยวกับภาษีอากร
- ความรู้เกี่ยวกับภาษีอากร
เลือกตามตำแหน่งที่สอบ
- นักตรวจสอบภาษีปฏิบัติการ
- นักวิชาการสรรพากรปฏิบัติการ
- นิติกร
- นักวิชาการภาษีปฏิบัติการ
- นักวิชาการคอมพิวเตอร์ปฏิบัติการ
- เจ้าพนักงานภาษีสรรพากร
- พนักงานภาษีสรรพากร
- พนักงานสรรพากร
- เจ้าพนักงานสรรพากรปฏิบัติง าน
- เจ้าพนักงานธุรการปฏิบัติงาน
- เจ้าพนักงานเครื่องคอม พิวเตอร์ปฏิบัติงาน
อื่นๆ
*** ห้ามพลาด....ข้อสอบใหม่ล่าสุดพร้อมเฉลย***
....เหมาะสำหรับผู้ที่ไม่มีเวลาออกไปซื้อหนังสือ หรือออกไปติว
....สรุป เนื้อหาครบถ้วน อ่าน และเข้าใจง่าย
>>มีตัวอย่างข้อสอบ พร้อมเฉลย แม่นยำ<<
....การันตีคุณภาพ ราคาประหยัด....
รวมข้อสอบเก่าเด็ดๆ และข้อสอบที่ออกบ่อยๆ รวบรวมข้อสอบจากรุ่นพี่ที่สอบได้ จากสนามจริง
** ติดต่อสอบถาม/สั่งซื้อแนวข้อสอบ
โทร 0833437605 (ครูศรินณา) Line ID : nongnoi124
[ส่งไฟล์รวดเร็วทันใจ พร้อมอ่าน]
-ส่งเป็นไฟล์ PDF ปริ้นอ่านได้เลย ราคาเพียง 399 บาท (ได้รับภายในวันที่สั่งซื้อ)
-ส่งแบบหนังสือ + MP3 ส่งทางไปรษณีย์ ราคา 799 บาท (ฟรีส่ง EMS + MP3)
โปรดระวังพวกซื้อไปขายต่อ ข้อมูลจะไม่อัพเดต
กรุณาชำระค่าสินค้าและบริการ
เลขที่บัญชี 619-2-17391-2 ธ.กสิกรไทย
สาขา บิ๊กซี พระรามที่ 2 ประเภท ออมทรัพย์ ชื่อบัญชี กฤษฎาพร เหมวันต์
โอนเงินแล้วแจ้งที่ sarinna.jansena@gmail.com หรือ Line ID : nongnoi124
การยื่นแบบผ่านอินเทอร์เน็ต
การยื่นแบบผ่านอินเทอร์เน็ต สามารถทำรายการยื่นแบบฯ ได้ตามเวลาที่กฎหมายกำหนด ภายในเวลา 06.00 – 22.00 น. (ยกเว้น ภาษีเงินได้บุคคลธรรมดา ยื่นได้ตลอด 24 ชั่วโมง) ทุกวันโดยไม่เว้นวันหยุดราชการ ส่วนการชำระภาษีขึ้นอยู่กับหน่วย รับชำระภาษี (ธนาคาร / ไปรษณีย์) ที่เปิดให้บริการ และหากวันสุดท้ายของการยื่นแบบฯ ตรงกับวันหยุดราชการ สามารถยื่นแบบฯ ได้ในวันทำการถัดไป หมายเหตุ การยื่นแบบและการจดทะเบียนเป็นผู้ยื่นแบบน่าจะออกสอบหลายข้อ
แนวข้อสอบที่อาจจะออกสอบ
1. ข้อใดเป็นภาษีที่กรมสรรพากรมีหน้าที่จัดเก็บ ตามประมวลรัษฎากร
1. ภาษีเงินได้ ภาษีมูลค่าเพิ่ม ภาษีธุรกิจเฉพาะ อากรแสตมป์ 2. ภาษีเงินได้ ภาษีมูลค่าเพิ่ม ภาษีโรงเรือน อากรแสตมป์ 3. ภาษีเงินได้ ภาษีมูลค่าเพิ่ม ภาษีน้ำมัน อากรแสตมป์ 4. ภาษีเงินได้ ภาษีมูลค่าเพิ่ม ภาษีที่ดิน อากรแสตมป์ ตอบ 1 2. ใบผ่านภาษีมีอายุการใช้งานนานเท่าใดนับแต่วันออก 1. 15 วัน 2. 30 วัน 3. 45 วัน 4. 60 วัน ตอบ 1 3. ผู้ใดไม่มีหน้าที่เสียภาษีเงินได้บุคคลธรรมดา 1. คนไทยที่ยังไม่บรรลุนิติภาวะ 2. ห้างหุ้นส่วนสามัญ 3. คนที่มีรายได้ไม่ถึง 150,000 บาทต่อปี 4. ห้างหุ้นส่วนสามัญนิติบุคคล ตอบ 4 4. เด็กหญิงทองกวาว อายุ 5 ขวบ มีเงินได้ 3 แสนบาท จากการแข่งขันเกมส์โชว์ จะต้องนำเงินได้มาเสียภาษีเงินได้บุคคลธรรมดาหรือไม่อย่างไร 1. ไม่ต้องเสียภาษีเพราะยังไม่ใช่เงินได้ขณะที่เป็นบุคคลบรรลุนิติภาวะ 2. ไม่ต้องเสียภาษีเพราะเงินได้สุทธิยังไม่ถึงเกณฑ์ที่ต้องเสียภาษี 3. ต้องนำมาเสียโดยบิดามีหน้าที่ยื่นแทน 4. ต้องนำมาเสียโดยเด็กหญิงทองกวาวต้องไปยื่นเสียภาษีด้วยตนเองโดยบิดาหรือมารดาพาไป ตอบ 3 5. หากไม่เห็นด้วยกับการประเมินของเจ้าพนักงานสรรพากร ผู้เสียภาษีต้องดำเนินการอย่างไร 1. ยื่นอุทธรณ์ต่อผู้บังคับบัญชาของเจ้าพนักงาน 2. ยื่นอุทธรณ์ต่อคณะกรรมการวินิจฉัยอุทธรณ์ 3. ยื่นอุทธรณ์ต่ออธิบดีกรมสรรพากร 4. ยื่นอุทธรณ์ต่อศาลภาษีอากรกลาง ตอบ 2 6. ข้อใดมิใช่อำนาจของคณะกรรมการวินิจฉัยอุทธรณ์ 1. สั่งให้มีการยึดทรัพย์ผู้ไม่จ่ายภาษี 2. ออกหมายเรียกผู้อุทธรณ์มาไต่สวน 3. วินิจฉัยปัญหาเรื่องที่มีผู้อุทธรณ์ภาษี 4. สั่งให้ผู้อุทธรณ์หรือพยานนำพยานหลักฐานมาแสดง ตอบ 1 7. การยื่นอุทธรณ์ต่อคณะกรรมการวินิจฉัยอุทธรณ์ ต้องดำเนินการภายในกำหนดข้อใด 1. สิบห้าวันนับแต่วันได้รับแจ้งการประเมิน 2. สามสิบวันนับแต่วันได้รับแจ้งการประเมิน 3. สี่สิบห้าวันนับแต่วันได้รับแจ้งการประเมิน 4. หกสิบวันนับแต่วันได้รับแจ้งการประเมิน ตอบ 2 8. องค์ประกอบของคณะกรรมการวินิจฉัยภาษีอากร ข้อใดไม่ใช่ 1. ปลัดกระทรวงการคลังเป็นประธานกรรมการ 2. อธิบดีกรมสรรพากร เป็นกรรมการ 3. เลขาธิการ ก.พ. เป็นกรรมการ 4. เลขาธิการคณะกรรมการกฤษฎีกา เป็นกรรมการ ตอบ 3 9. การคืนภาษีให้แก่ผู้เสียภาษีที่ถูกประเมินภาษีเกิน ผู้ได้รับเงินคืนจะได้รับดอกเบี้ยตามข้อใด 1. ได้รับดอกเบี้ยร้อยละ 0.5 2. ได้รับดอกเบี้ยร้อยละ 1 3. ได้รับดอกเบี้ยร้อยละ 1.5 4. ได้รับดอกเบี้ยร้อยละ 2.5 ตอบ 2 ได้รับดอกเบี้ยร้อยละ 1 10. ข้อใดมิใช่ Joint Venture 1. บุคคลธรรมดากับนิติบุคคล 2. บุคคลธรรมดากับบุคคลธรรมดา 3. นิติบุคคลกับนิติบุคคล 4. นิติบุคคล บุคคลธรรมดา กับบริษัทมหาชน ตอบ 2 บุคคลธรรมดากับบุคคลธรรมดา ไม่ถือว่าเป็น Joint Venture 11. ข้อใดมิใช่ใบกำกับภาษี 1. ใบเพิ่มหนี้ 2. ใบลดหนี้ 3. ใบปลดหนี้ 4. ใบเสร็จรับเงินที่ส่วนราชการออกให้ในการขายทอดตลาด ตอบ 3 ใบกำกับภาษี มี 2 ประเภทคือ 12. นายชวน ได้รับมอบอำนาจจากบริษัท ABC ให้ไปติดต่อเรื่องภาษีกับกรมสรรพากร ใครมีอำนาจลงนามในหนังสือมอบอำนาจ 1. ประธานกรรมการของบริษัท 2. ผู้ถือหุ้นใหญ่ของบริษัท 3. กรรมการที่ระบุในตราสารจัดตั้งบริษัทให้มีอำนาจลงนาม 4. กรรมการที่ระบุในตราสารจัดตั้งบริษัทไม่น้อยกว่า 2 ในสามจึงจะมีอำนาจลงนาม ตอบ 3 กรรมการที่ระบุในตราสารจัดตั้งบริษัทให้มีอำนาจลงนาม 13. กำหนดราคาซื้อขายอสังหาริมทรัพย์ ที่ใช้ในการคำนวณภาษีเป็นไปตามข้อใด 1. ราคาประเมินของกรมที่ดิน 2. ราคาท้องตลาด 3. ราคาตามที่ผู้ซื้อผู้ขายซื้อขายกันจริง 4. ราคาที่อธิบดีกรมสรรพากรกำหนด ตอบ 1 ให้ถือตามราคาประเมินของกรมที่ดิน ไม่ว่าราคาที่ซื้อขายจริงจะสูงหรือต่ำกว่าก็ 14. ซื้ออสังหาริมทรัพย์ โอนกันในราคา 6 แสนบาท แต่ราคาประเมินของกรมที่ดินอยู่ที่ 4 แสนบาท ดังนี้ราคาใดเป็นราคาที่ใช้คำนวณในการเสียภาษีตามประมวลรัษฎากร 1. 4 แสนบาท 2. 5 แสนบาท 3. 6 แสนบาท 4. ไม่มีข้อใดถูก ตอบ 1 การเก็บภาษีถือตามราคาประเมินของกรมที่ดิน คือ 4 แสนบาท 15. บริษัท A ขายสินค้า และจัดทำใบกำกับสินค้าเรียบร้อยแล้ว แต่มิได้ส่งมอบใบกำกับสินค้าให้กับลูกค้า จะต้องรับโทษตามกฎหมายอย่างไร 1. จำคุกไม่เกินหนึ่งเดือน หรือปรับไม่เกินห้าพันบาท 2. จำคุกไม่เกินหนึ่งเดือน หรือปรับไม่เกินห้าพันบาท หรือทั้งจำทั้งปรับ 3. จำคุกไม่เกินสองเดือน หรือปรับไม่เกินหนึ่งหมื่นบาท 4. จำคุกไม่เกินสองเดือน หรือปรับไม่เกินหนึ่งหมื่นบาท หรือทั้งจำทั้งปรับ ตอบ 2 มาตรา 90/2 บุคคลดังต่อไปนี้ ฝ่าฝืนหรือไม่ปฏิบัติตามบทบัญญัติที่ระบุไว้ ต้อง 16. นิติบุคคลใดต่อไปนี้ได้รับการยกเว้นภาษีเงินได้นิติบุคคล 1. กิจการร่วมค้า 2. ห้างหุ้นส่วนสามัญนิติบุคคล 3. นิติบุคคลต่างประเทศที่มีสาขาในไทย 4. นิติบุคคลอาคารชุด ตอบ 4 นิติบุคคลอาคารชุดได้รับยกเว้นภาษีเงินได้นิติบุคคล เนื่องจากไม่ใช่นิติบุคคลตามมาตรา 39 แห่งประมวลรัษฎากร จึงไม่มีหน้าที่เสียภาษีเงินได้นิติบุคคล และไม่เข้าลักษณะผู้ประกอบการที่อยู่ในบังคับต้องเสียภาษีมูลค่าเพิ่มด้วย (คำวินิจฉัยคณะกรรมการวินิจฉัยภาษีอากรที่ 33/2540) 17. อัตราภาษีเงินได้สำหรับนิติบุคคลขนาดเล็กที่มีเงินได้สุทธิไม่เกิน 3 ล้านบาท คือข้อใด 1. ร้อยละ 30 2. ร้อยละ 25 3. ร้อยละ 15 4. ร้อยละ 10 ตอบ 2 เสียในอัตราร้อยละ 25 ทั้งนี้พระราชกฤษฎีกาออกตามความในประมวลรัษฎากรว่าด้วยการลดอัตราและยกเว้นรัษฎากร (ฉบับที่ ๔๗๑) พ.ศ. ๒๕๕๑ ได้ยกเว้นภาษีให้นิติบุคคลขนาดเล็กที่มีกำไรสุทธิเกินหนึ่งแสนห้าหมื่นบาท และลดอัตราภาษีเฉพาะส่วนที่เกินหนึ่งแสนห้าหมื่นบาท แต่ไม่เกินสามล้านบาท ดังนี้ 18. ได้รับรางวัลจากการชิงโชค 2 หมื่นบาท ต้องหักภาษี ณ ที่จ่ายเท่าใด 1. ไม่ต้องหักภาษี ณ ที่จ่ายเพราะถือเป็นเงินได้ที่ได้รับยกเว้นภาษี 2. หักภาษี ณ ที่จ่าย 1,000 บาท 3. หักภาษี ณ ที่จ่าย 500 บาท 4. หักภาษี ณ ที่จ่าย 250 บาท ตอบ 2 หักภาษี ณ ที่จ่ายร้อยละ 5 เท่ากับ 1,000 บาท 19. เด็กหญิงจรลี มีรายได้ทั้งปีจากการขายพวงมาลัย 2 หมื่นบาท จะต้องเสียภาษีเงินได้บุคคลธรรมดาหรือไม่ 1. ไม่ต้องเสียเพราะมีเงินได้ไม่ถึงเกณฑ์ที่กฎหมายกำหนด 2. ไม่ต้องเสียเพราะการเป็นผู้เยาว์ไม่ต้องเสียภาษี 3. ต้องเสียเพราะไม่ใช่เงินได้ประเภทเงินเดือนค่าจ้างจึงไม่มีเกณฑ์ขั้นต่ำ 4. เสียหรือไม่ยังตอบไม่ได้เพราะจะต้องนำไปคำนวณตามอัตราที่กรมสรรพากรกำหนดก่อน ตอบ 1 ไม่ต้องเสียเพราะมีเงินได้ไม่ถึงเกณฑ์ที่กฎหมายกำหนด ทั้งนี้เพราะไม่ใช่ผู้ที่มีรายได้ประเภทที่ไม่ใช่เงินเดือนค่าจ้างตั้งแต่ปีละ 60,000 บาทขึ้นไป ที่ต้องเสียภาษีในลักษณะเหมาจ่ายร้อยละ 0.5 หลังจากหักค่าใช้จ่ายต่าง ๆ ทั้งหมดแล้วหรือเสียภาษีเงินได้ตามปกติที่หักค่าใช้จ่ายแล้วคิดภาษีตามอัตราก้าวหน้า แล้วแต่ภาษีส่วนไหนจะสูงกว่า 20. ธนาคารตามข้อใด ไม่ได้เป็นรัฐวิสาหกิจที่สังกัดกระทรวงการคลัง 1. ธนาคารแห่งประเทศไทย 2. ธนาคารออมสิน 3. ธนาคารกรุงไทย 4. ธนาคารอาคารสงเคราะห์ ตอบ 1 ธนาคารแห่งประเทศไทย เป็นหน่วยงานของรัฐ (ที่ไม่ใช่ส่วนราชการหรือรัฐวิสาหกิจ) ทำหน้าที่เป็นผู้กำกับและดูแลนโยบายการเงินของประเทศ รวมทั้งเป็นนายธนาคารของรัฐที่กำกับดูแลธนาคารพาณิชย์อีกต่อหนึ่ง และเป็นผู้ผลิตเงินธนบัตรไทย (แบงค์ยี่สิบ-แบงค์พัน) อยู่ในกำกับของรัฐมนตรีว่าการกระทรวงการคลัง แต่ไม่ได้อยู่ภายใต้สังกัดของกระทรวงการคลัง
1. ข้อใดเป็นภาษีที่กรมสรรพากรมีหน้าที่จัดเก็บ ตามประมวลรัษฎากร
1. ภาษีเงินได้ ภาษีมูลค่าเพิ่ม ภาษีธุรกิจเฉพาะ อากรแสตมป์ 2. ภาษีเงินได้ ภาษีมูลค่าเพิ่ม ภาษีโรงเรือน อากรแสตมป์ 3. ภาษีเงินได้ ภาษีมูลค่าเพิ่ม ภาษีน้ำมัน อากรแสตมป์ 4. ภาษีเงินได้ ภาษีมูลค่าเพิ่ม ภาษีที่ดิน อากรแสตมป์ ตอบ 1 2. ใบผ่านภาษีมีอายุการใช้งานนานเท่าใดนับแต่วันออก 1. 15 วัน 2. 30 วัน 3. 45 วัน 4. 60 วัน ตอบ 1 3. ผู้ใดไม่มีหน้าที่เสียภาษีเงินได้บุคคลธรรมดา 1. คนไทยที่ยังไม่บรรลุนิติภาวะ 2. ห้างหุ้นส่วนสามัญ 3. คนที่มีรายได้ไม่ถึง 150,000 บาทต่อปี 4. ห้างหุ้นส่วนสามัญนิติบุคคล ตอบ 4 4. เด็กหญิงทองกวาว อายุ 5 ขวบ มีเงินได้ 3 แสนบาท จากการแข่งขันเกมส์โชว์ จะต้องนำเงินได้มาเสียภาษีเงินได้บุคคลธรรมดาหรือไม่อย่างไร 1. ไม่ต้องเสียภาษีเพราะยังไม่ใช่เงินได้ขณะที่เป็นบุคคลบรรลุนิติภาวะ 2. ไม่ต้องเสียภาษีเพราะเงินได้สุทธิยังไม่ถึงเกณฑ์ที่ต้องเสียภาษี 3. ต้องนำมาเสียโดยบิดามีหน้าที่ยื่นแทน 4. ต้องนำมาเสียโดยเด็กหญิงทองกวาวต้องไปยื่นเสียภาษีด้วยตนเองโดยบิดาหรือมารดาพาไป ตอบ 3 5. หากไม่เห็นด้วยกับการประเมินของเจ้าพนักงานสรรพากร ผู้เสียภาษีต้องดำเนินการอย่างไร 1. ยื่นอุทธรณ์ต่อผู้บังคับบัญชาของเจ้าพนักงาน 2. ยื่นอุทธรณ์ต่อคณะกรรมการวินิจฉัยอุทธรณ์ 3. ยื่นอุทธรณ์ต่ออธิบดีกรมสรรพากร 4. ยื่นอุทธรณ์ต่อศาลภาษีอากรกลาง ตอบ 2 6. ข้อใดมิใช่อำนาจของคณะกรรมการวินิจฉัยอุทธรณ์ 1. สั่งให้มีการยึดทรัพย์ผู้ไม่จ่ายภาษี 2. ออกหมายเรียกผู้อุทธรณ์มาไต่สวน 3. วินิจฉัยปัญหาเรื่องที่มีผู้อุทธรณ์ภาษี 4. สั่งให้ผู้อุทธรณ์หรือพยานนำพยานหลักฐานมาแสดง ตอบ 1 7. การยื่นอุทธรณ์ต่อคณะกรรมการวินิจฉัยอุทธรณ์ ต้องดำเนินการภายในกำหนดข้อใด 1. สิบห้าวันนับแต่วันได้รับแจ้งการประเมิน 2. สามสิบวันนับแต่วันได้รับแจ้งการประเมิน 3. สี่สิบห้าวันนับแต่วันได้รับแจ้งการประเมิน 4. หกสิบวันนับแต่วันได้รับแจ้งการประเมิน ตอบ 2 8. องค์ประกอบของคณะกรรมการวินิจฉัยภาษีอากร ข้อใดไม่ใช่ 1. ปลัดกระทรวงการคลังเป็นประธานกรรมการ 2. อธิบดีกรมสรรพากร เป็นกรรมการ 3. เลขาธิการ ก.พ. เป็นกรรมการ 4. เลขาธิการคณะกรรมการกฤษฎีกา เป็นกรรมการ ตอบ 3 9. การคืนภาษีให้แก่ผู้เสียภาษีที่ถูกประเมินภาษีเกิน ผู้ได้รับเงินคืนจะได้รับดอกเบี้ยตามข้อใด 1. ได้รับดอกเบี้ยร้อยละ 0.5 2. ได้รับดอกเบี้ยร้อยละ 1 3. ได้รับดอกเบี้ยร้อยละ 1.5 4. ได้รับดอกเบี้ยร้อยละ 2.5 ตอบ 2 ได้รับดอกเบี้ยร้อยละ 1 10. ข้อใดมิใช่ Joint Venture 1. บุคคลธรรมดากับนิติบุคคล 2. บุคคลธรรมดากับบุคคลธรรมดา 3. นิติบุคคลกับนิติบุคคล 4. นิติบุคคล บุคคลธรรมดา กับบริษัทมหาชน ตอบ 2 บุคคลธรรมดากับบุคคลธรรมดา ไม่ถือว่าเป็น Joint Venture 11. ข้อใดมิใช่ใบกำกับภาษี 1. ใบเพิ่มหนี้ 2. ใบลดหนี้ 3. ใบปลดหนี้ 4. ใบเสร็จรับเงินที่ส่วนราชการออกให้ในการขายทอดตลาด ตอบ 3 ใบกำกับภาษี มี 2 ประเภทคือ 12. นายชวน ได้รับมอบอำนาจจากบริษัท ABC ให้ไปติดต่อเรื่องภาษีกับกรมสรรพากร ใครมีอำนาจลงนามในหนังสือมอบอำนาจ 1. ประธานกรรมการของบริษัท 2. ผู้ถือหุ้นใหญ่ของบริษัท 3. กรรมการที่ระบุในตราสารจัดตั้งบริษัทให้มีอำนาจลงนาม 4. กรรมการที่ระบุในตราสารจัดตั้งบริษัทไม่น้อยกว่า 2 ในสามจึงจะมีอำนาจลงนาม ตอบ 3 กรรมการที่ระบุในตราสารจัดตั้งบริษัทให้มีอำนาจลงนาม 13. กำหนดราคาซื้อขายอสังหาริมทรัพย์ ที่ใช้ในการคำนวณภาษีเป็นไปตามข้อใด 1. ราคาประเมินของกรมที่ดิน 2. ราคาท้องตลาด 3. ราคาตามที่ผู้ซื้อผู้ขายซื้อขายกันจริง 4. ราคาที่อธิบดีกรมสรรพากรกำหนด ตอบ 1 ให้ถือตามราคาประเมินของกรมที่ดิน ไม่ว่าราคาที่ซื้อขายจริงจะสูงหรือต่ำกว่าก็ 14. ซื้ออสังหาริมทรัพย์ โอนกันในราคา 6 แสนบาท แต่ราคาประเมินของกรมที่ดินอยู่ที่ 4 แสนบาท ดังนี้ราคาใดเป็นราคาที่ใช้คำนวณในการเสียภาษีตามประมวลรัษฎากร 1. 4 แสนบาท 2. 5 แสนบาท 3. 6 แสนบาท 4. ไม่มีข้อใดถูก ตอบ 1 การเก็บภาษีถือตามราคาประเมินของกรมที่ดิน คือ 4 แสนบาท 15. บริษัท A ขายสินค้า และจัดทำใบกำกับสินค้าเรียบร้อยแล้ว แต่มิได้ส่งมอบใบกำกับสินค้าให้กับลูกค้า จะต้องรับโทษตามกฎหมายอย่างไร 1. จำคุกไม่เกินหนึ่งเดือน หรือปรับไม่เกินห้าพันบาท 2. จำคุกไม่เกินหนึ่งเดือน หรือปรับไม่เกินห้าพันบาท หรือทั้งจำทั้งปรับ 3. จำคุกไม่เกินสองเดือน หรือปรับไม่เกินหนึ่งหมื่นบาท 4. จำคุกไม่เกินสองเดือน หรือปรับไม่เกินหนึ่งหมื่นบาท หรือทั้งจำทั้งปรับ ตอบ 2 มาตรา 90/2 บุคคลดังต่อไปนี้ ฝ่าฝืนหรือไม่ปฏิบัติตามบทบัญญัติที่ระบุไว้ ต้อง 16. นิติบุคคลใดต่อไปนี้ได้รับการยกเว้นภาษีเงินได้นิติบุคคล 1. กิจการร่วมค้า 2. ห้างหุ้นส่วนสามัญนิติบุคคล 3. นิติบุคคลต่างประเทศที่มีสาขาในไทย 4. นิติบุคคลอาคารชุด ตอบ 4 นิติบุคคลอาคารชุดได้รับยกเว้นภาษีเงินได้นิติบุคคล เนื่องจากไม่ใช่นิติบุคคลตามมาตรา 39 แห่งประมวลรัษฎากร จึงไม่มีหน้าที่เสียภาษีเงินได้นิติบุคคล และไม่เข้าลักษณะผู้ประกอบการที่อยู่ในบังคับต้องเสียภาษีมูลค่าเพิ่มด้วย (คำวินิจฉัยคณะกรรมการวินิจฉัยภาษีอากรที่ 33/2540) 17. อัตราภาษีเงินได้สำหรับนิติบุคคลขนาดเล็กที่มีเงินได้สุทธิไม่เกิน 3 ล้านบาท คือข้อใด 1. ร้อยละ 30 2. ร้อยละ 25 3. ร้อยละ 15 4. ร้อยละ 10 ตอบ 2 เสียในอัตราร้อยละ 25 ทั้งนี้พระราชกฤษฎีกาออกตามความในประมวลรัษฎากรว่าด้วยการลดอัตราและยกเว้นรัษฎากร (ฉบับที่ ๔๗๑) พ.ศ. ๒๕๕๑ ได้ยกเว้นภาษีให้นิติบุคคลขนาดเล็กที่มีกำไรสุทธิเกินหนึ่งแสนห้าหมื่นบาท และลดอัตราภาษีเฉพาะส่วนที่เกินหนึ่งแสนห้าหมื่นบาท แต่ไม่เกินสามล้านบาท ดังนี้ 18. ได้รับรางวัลจากการชิงโชค 2 หมื่นบาท ต้องหักภาษี ณ ที่จ่ายเท่าใด 1. ไม่ต้องหักภาษี ณ ที่จ่ายเพราะถือเป็นเงินได้ที่ได้รับยกเว้นภาษี 2. หักภาษี ณ ที่จ่าย 1,000 บาท 3. หักภาษี ณ ที่จ่าย 500 บาท 4. หักภาษี ณ ที่จ่าย 250 บาท ตอบ 2 หักภาษี ณ ที่จ่ายร้อยละ 5 เท่ากับ 1,000 บาท 19. เด็กหญิงจรลี มีรายได้ทั้งปีจากการขายพวงมาลัย 2 หมื่นบาท จะต้องเสียภาษีเงินได้บุคคลธรรมดาหรือไม่ 1. ไม่ต้องเสียเพราะมีเงินได้ไม่ถึงเกณฑ์ที่กฎหมายกำหนด 2. ไม่ต้องเสียเพราะการเป็นผู้เยาว์ไม่ต้องเสียภาษี 3. ต้องเสียเพราะไม่ใช่เงินได้ประเภทเงินเดือนค่าจ้างจึงไม่มีเกณฑ์ขั้นต่ำ 4. เสียหรือไม่ยังตอบไม่ได้เพราะจะต้องนำไปคำนวณตามอัตราที่กรมสรรพากรกำหนดก่อน ตอบ 1 ไม่ต้องเสียเพราะมีเงินได้ไม่ถึงเกณฑ์ที่กฎหมายกำหนด ทั้งนี้เพราะไม่ใช่ผู้ที่มีรายได้ประเภทที่ไม่ใช่เงินเดือนค่าจ้างตั้งแต่ปีละ 60,000 บาทขึ้นไป ที่ต้องเสียภาษีในลักษณะเหมาจ่ายร้อยละ 0.5 หลังจากหักค่าใช้จ่ายต่าง ๆ ทั้งหมดแล้วหรือเสียภาษีเงินได้ตามปกติที่หักค่าใช้จ่ายแล้วคิดภาษีตามอัตราก้าวหน้า แล้วแต่ภาษีส่วนไหนจะสูงกว่า 20. ธนาคารตามข้อใด ไม่ได้เป็นรัฐวิสาหกิจที่สังกัดกระทรวงการคลัง 1. ธนาคารแห่งประเทศไทย 2. ธนาคารออมสิน 3. ธนาคารกรุงไทย 4. ธนาคารอาคารสงเคราะห์ ตอบ 1 ธนาคารแห่งประเทศไทย เป็นหน่วยงานของรัฐ (ที่ไม่ใช่ส่วนราชการหรือรัฐวิสาหกิจ) ทำหน้าที่เป็นผู้กำกับและดูแลนโยบายการเงินของประเทศ รวมทั้งเป็นนายธนาคารของรัฐที่กำกับดูแลธนาคารพาณิชย์อีกต่อหนึ่ง และเป็นผู้ผลิตเงินธนบัตรไทย (แบงค์ยี่สิบ-แบงค์พัน) อยู่ในกำกับของรัฐมนตรีว่าการกระทรวงการคลัง แต่ไม่ได้อยู่ภายใต้สังกัดของกระทรวงการคลัง 21. กรมการจัดเก็บภาษี 3 กรมหลัก ประกอบด้วย 1. กรมสรรพากร กรมศุลกากร กรมธนารักษ์ 2. กรมสรรพากร กรมศุลกากร กรมสรรพสามิต 3. กรมสรรพากร กรมศุลกากร กรมที่ดิน 4. กรมสรรพากร กรมศุลกากร กรมขนส่งทางบก ตอบ 2 กรมการจัดเก็บภาษี 3 กรมหลักอยู่ในสังกัดกระทรวงการคลัง ประกอบด้วย กรมสรรพากร กรมศุลกากร กรมสรรพสามิต 22. เว็บไซต์ของกรมสรรพากร คือข้อใด 1. www.rd.go.th 2. www.rd.gov.th 3. www.revenue.go.th 4. www. revenue.gov.th ตอบ 1 เว็บไซต์ของกรมสรรพากร คือ www.rd.go.th 23. เว็บไซต์ที่คนทั่วไปสามารถยื่นแสดงรายการชำระภาษีทางอินเทอร์เน็ตคือ 1. www.rd.go.th 2. www.rd.gov.th 3. www.revenue.go.th 4. http://rdserver.rd.go.th ตอบ 1 เว็บไซต์ของกรมสรรพากรที่ยื่นภาษีผ่านอินเทอร์เน็ต คือ www.rd.go.th ซึ่งเป็นเว็บไซต์เดียวกันกับเว็บไซต์กรมสรรพากร 24. การยื่นแสดงรายการภาษีเงินได้บุคคลธรรมดาทางอินเตอร์เน็ต สามารถยื่นได้ในเวลาใด 1. จันทร์ – ศุกร์ เฉพาะเวลาราชการ 0830-1430 น 2. จันทร์ – ศุกร์ ตลอดเวลา 24 ชั่วโมง 3. ทุกวัน เฉพาะเวลาราชการ 0830-1430 น 4. ทุกวัน ตลอดเวลา 24 ชั่วโมง ตอบ 4 ภาษีเงินได้บุคคลธรรมดาสามารถยื่นได้ทุกวัน ตลอดเวลา 24 ชั่วโมง 25. การยื่นแบบแสดงรายการเสียภาษีเงินได้นิติบุคคลทางอินเตอร์เน็ตที่ยื่นได้ทุกวัน สามารถยื่นได้ในเวลาใด 1. 06.00-1630 น. 2. 06.00-22.00 น. 3. 0800-2400 น. 4. ตลอด 24 ชั่วโมง ตอบ 2 การยื่นแสดงรายการเสียภาษีเงินได้นิติบุคคล ทางอินเตอร์เน็ตสามารถยื่นได้ตั้งแต่เวลา 06.00-22.00 น. ไม่เว้นวันหยุดราชการ และสามารถชำระภาษีด้วยบัตรเครดิตของธนาคาร 26. ถ้าต้องการค้นหาแนวคำวินิจฉัยเกี่ยวกับภาษีอากร ผ่านทางเว็บไซต์ของกรมสรรพากร สามารถเข้าค้นหาได้ตามขั้นตอนใด 1. http://www.rd.go.th/อ้างอิง/ประมวลรัษฎรกร/ คำวินิจฉัยของคณะกรรมการวินิจฉัยภาษีอากร 2. http://www.rd.go.th/ความรู้เรื่องภาษี/ประมวลรัษฎรกร/ คำวินิจฉัยของคณะกรรมการวินิจฉัยภาษีอากร 3. http://www.rd.go.th/บริการอิเล็กทรอนิกส์/ประมวลรัษฎรกร/ คำวินิจฉัยของคณะกรรมการวินิจฉัยภาษีอากร 4. http://www.rd.go.th/บริการข้อมูล/ประมวลรัษฎรกร/ คำวินิจฉัยของคณะกรรมการวินิจฉัยภาษีอากร ตอบ 1 http://www.rd.go.th/อ้างอิง/ประมวลรัษฎรกร/ คำวินิจฉัยของคณะกรรมการวินิจฉัยภาษีอากร 27. จดทะเบียนภาษีมูลค่าเพิ่มทางอินเตอร์เน็ตขั้นตอนใดถูกต้อง 1. http://www.rd.go.th/บริการอิเล็กทรอนิกส์/ยื่นคำร้องขอมีเลขประจำตัวผู้เสียภาษีอากร/เลือกประเภทผู้เสียภาษีมูลค่าเพิ่ม 2. http://www.rd.go.th/อ้างอิง/ยื่นคำร้องขอมีเลขประจำตัวผู้เสียภาษีอากร/เลือกประเภทผู้เสียภาษีมูลค่าเพิ่ม 3. http://www.rd.go.th/บริการข้อมูล/ยื่นคำร้องขอมีเลขประจำตัวผู้เสียภาษีอากร/เลือกประเภทผู้เสียภาษีมูลค่าเพิ่ม 4. http://www.rd.go.th/ความรู้เรื่องภาษี/ยื่นคำร้องขอมีเลขประจำตัวผู้เสียภาษีอากร/เลือกประเภทผู้เสียภาษีมูลค่าเพิ่ม ตอบ 1 http://www.rd.go.th/บริการอิเล็กทรอนิกส์/ยื่นคำร้องขอมีเลขประจำตัวผู้เสียภาษีอากร/เลือกประเภทผู้เสียอากรภาษีมูลค่าเพิ่ม 28. กำหนดเวลาจดจดทะเบียนภาษีมูลค่าเพิ่มทางอินเตอร์เน็ต 1. จันทร์ – ศุกร์ เฉพาะเวลาราชการ 0830-1430 น. 2. จันทร์ – ศุกร์ ตลอดเวลา 24 ชั่วโมง 3. ทุกวัน เวลา 06.00-22.00 น. 4. ทุกวัน ตลอดเวลา 24 ชั่วโมง ตอบ 4 ยื่นได้ทุกวัน ตลอด 24 ชม. ถ้าเป็นยื่นแบบเสียภาษีให้ยื่นในเวลา 06.00-22.00 น. 29. ข้อใดคือ Capital Expenditure 1. เงินเดือนค้าจ้าง 2. เครื่องจักร 3. ค่าไฟฟ้าประปา 4. กระดาษชำระ ตอบ 2 Capital Expenditure (รายจ่ายฝ่ายทุนหรืออันมีลักษณะเป็นการลงทุน) หมายถึง รายจ่ายเพื่อการได้มาซึ่งทรัพย์สินที่จะนำมาใช้ในการดำเนินการหรือเพื่อการหารายได้ ซึ่งอาจแบ่งย่อยเป็น 30. ข้อใดมิใช่ วิสัยทัศน์กรมสรรพากร 1. หน่วยงานหลักด้านภาษี 2. เพื่อบริการประชาชน 3. เก็บภาษีทั่วถึงเป็นธรรม 4. ระบบงานมาตรฐานสากล ตอบ 1 วิสัยทัศน์กรมสรรพกากร มีดังนี้ ระบบงานมาตรฐานสากล เพื่อบริการประชาชน และเก็บภาษีทั่วถึงเป็นธรรม 31. ปี 2554 อยู่ในช่วงแผนพัฒนาฉบับใด 1. ฉบับที่ 8 2. ฉบับที่ 9 3. ฉบับที่ 10 4. ฉบับที่ 11 ตอบ 3 แผนพัฒนาฉบับที่ 10 (พ.ศ.2550-2554) 32. ความรับผิดในการเสียภาษีมูลค่าเพิ่ม กรณีการขายสินค้าและบริการต่างกันหรือไม่อย่างไร 1. ไม่แตกต่างกันคือทั้งสองกรณีเกิดขึ้นเมื่อมีการส่งมอบสินค้า 2. ไม่แตกต่างกันคือทั้งสองกรณีเกิดขึ้นเมื่อมีการชำระค่าบริการ 3. แตกต่างกันคือกรณีการขายสินค้าเกิดขึ้นเมื่อมีการส่งมอบสินค้า ส่วนกรณีการให้บริการเกิดขึ้นเมื่อมีการชำระค่าบริการ 4. แตกต่างกันคือกรณีการขายสินค้าเกิดขึ้นเมื่อมีการชำระค่าบริการ ส่วนกรณีการให้บริการเกิดขึ้นเมื่อมีการส่งมอบสินค้า ตอบ 3 ความรับผิดทางภาษี (Tax Point) แตกต่างกันคือกรณีการขายสินค้าเกิดขึ้นเมื่อมีการส่งมอบสินค้า ส่วนกรณีการให้บริการเกิดขึ้นเมื่อมีการชำระค่าบริการ ประมวลรัษฎากร มาตรา 78 ภายใต้บังคับมาตรา 78/3 ความรับผิดในการเสียภาษีมูลค่าเพิ่มที่เกิดจากการขายสินค้า ให้เป็นไปตามหลักเกณฑ์ดังต่อไปนี้ (1) การขายสินค้านอกจากที่อยู่ในบังคับตาม (2) (3) (4) หรือ (5) ให้ความรับผิดทั้งหมดเกิดขึ้นเมื่อส่งมอบสินค้า เว้นแต่กรณีที่ได้มีการกระทำดังต่อไปนี้เกิดขึ้นก่อนส่งมอบสินค้าก็ให้ถือว่าความรับผิดเกิดขึ้นเมื่อได้มีการกระทำนั้น ๆ ด้วย (ก)โอนกรรมสิทธิ์สินค้า (ข) ได้รับชำระราคาสินค้า หรือ (ค) ได้ออกใบกำกับภาษี ทั้งนี้ โดยให้ความรับผิดเกิดขึ้นตามส่วนของการกระทำนั้น ๆ แล้ว มาตรา 78/1 ภายใต้บังคับมาตรา 78/3 ความรับผิดในการเสียภาษีมูลค่าเพิ่มที่เกิดจากการให้บริการให้เป็นไปตามหลักเกณฑ์ดังต่อไปนี้ (1) การให้บริการนอกจากที่อยู่ในบังคับตาม (2) (3) หรือ (4) ให้ความรับผิดทั้งหมดเกิดขึ้นเมื่อได้รับชำระราคาค่าบริการ เว้นแต่กรณีที่ได้มีการกระทำดังต่อไปนี้เกิดขึ้นก่อนได้รับชำระราคาค่าบริการก็ให้ถือว่าความรับผิดเกิดขึ้นเมื่อได้มีการกระทำนั้น ๆ ด้วย (ก) ได้ออกใบกำกับภาษี หรือ (ข) ได้ใช้บริการไม่ว่าโดยตนเองหรือบุคคลอื่น ทั้งนี้ โดยให้ความรับผิดเกิดขึ้นตามส่วนของการกระทำนั้น ๆ แล้วแต่กรณี 33. ผู้ใดไม่มีหน้าที่ขอเลขประจำตัวผู้เสียภาษีเงินได้บุคคลธรรมดา 1. ผู้ถึงแก่ความตายระหว่างปีภาษี 2. กองมรดกที่ยังไม่ได้แบ่ง 3. มูลนิธิสมาคมที่เป็นองค์การหรือสาธารณกุศล 4. หน่วยงานของราชการผู้จ่ายเงินได้ ตอบ 3 มูลนิธิสมาคมที่รัฐมนตรีประกาศกำหนดให้เป็นองค์การหรือสาธารณกุศล ไม่มีหน้าที่ขอเลขประจำตัวผู้เสียภาษีบุคคลธรรมดา 34. การขอเลขประจำตัวผู้เสียภาษีบุคคลธรรมดามีการออกเลขประจำตัวอย่างไร 1. ใช้เลขบัตรประจำตัวประชาชน 2. ใช้เลขบัตรประจำตัวประชาชน หรือบัตรราชการ 3. ใช้เลขบัตรประจำตัวประชาชน บัตรราชการ หรือบัตรประกันสังคม 4. ไม่มีข้อใดถูก ตอบ 1 35. กรณีเกิดภัยพิบัติเกิดขึ้น ซึ่งทำให้ผู้เสียภาษีไม่สามารถยื่นแบบแสดงรายการภาษีได้ภายในเวลากำหนด กรมสรรพากร มีแนวทางดำเนินการอย่างไร เพื่อมิให้ผู้เสียภาษี ต้องถูกเรียกเก็บเงินเพิ่ม เบี้ยปรับ และค่าปรับทางอาญา 1. ออกประกาศกรมสรรพากรยกเว้นการยื่นแบบเฉพาะกรณีไป 2. เก็บเงินเพิ่ม เบี้ยปรับ และค่าปรับทางอาญาเพียงกึ่งหนึ่ง ถ้ายื่นแบบล่าช้า 3. ผ่อนผันให้เฉพาะกรณีมีการยื่นคำขอและมีเหตุผลสมควรเท่านั้น 4. ขยายกำหนดเวลาการนำส่งและการยื่นรายการภาษี โดยไม่ต้องเสียเบี้ยปรับ เงินเพิ่ม และค่าปรับอาญา ตอบ 4 36. เงื่อนไขการขอคืนภาษีมูลค่าเพิ่ม ต้องมีภาษีที่ขอคืนไม่ต่ำกว่าเท่าใด และภายในเวลาใด 1. ไม่ต่ำกว่า 50 บาท ภายใน 3 ปี นับแต่วันพ้นกำหนดยื่นแบบแสดงรายการภาษีสำหรับเดือนภาษี 2. ไม่ต่ำกว่า 100 บาท ภายใน 3 ปี นับแต่วันพ้นกำหนดยื่นแบบแสดงรายการภาษีสำหรับเดือนภาษี 3. ไม่ต่ำกว่า 150 บาท ภายใน 3 ปี นับแต่วันพ้นกำหนดยื่นแบบแสดงรายการภาษีสำหรับเดือนภาษี 4. ไม่ได้กำหนดจำนวนขั้นต่ำไว้ โดยขอคืนภายใน 3 ปี นับแต่วันพ้นกำหนดยื่นแบบแสดงรายการภาษีสำหรับเดือนภาษี ตอบ 4 การขอคืนภาษีตามมาตรา 84/1 แห่งประมวลรัษฎากร ต้องขอคืนภายใน 3 ปี นับแต่วันพ้นกำหนดยื่นแบบแสดงรายการภาษีสำหรับเดือนภาษี โดยไม่ได้กำหนดเงินขั้นต่ำไว้ 37. ค่าลดหย่อนเบี้ยประกันสุขภาพบิดามารดาได้รับการยกเว้นเท่าใด 1. 1.5 หมื่นบาท 2. 3 หมื่นบาท 3. 5 หมื่นบาท 4. 1 แสนบาท ตอบ 1 เบี้ยประกันสุขภาพบิดา มารดาของผู้มีเงินได้และคู่สมรส (กรณีคู่สมรสไม่มีเงินได้) หักได้เท่าที่จ่ายจริงแต่ไม่เกิน 15,000 บาท ทั้งนี้บิดา มารดาที่มีสิทธิหักค่าลดหย่อน บิดา มารดา ต้องมีเงินได้ในปีภาษีที่หักลดหย่อนไม่เกิน 30,000 บาทขึ้นไป ผู้มีเงินได้หรือคู่สมรสต้องเป็นบุตรชอบด้วยกฎหมาย (บุตรบุญธรรมไม่มีสิทธิ์ยกเว้นฯ) ให้ยกเว้นเฉพาะเบี้ยประกันสุขภาพ บิดา มารดาที่อาศัยอยู่ในประเทศไทยเท่านั้น 38. ข้อใดมิใช่รายได้ที่ยกเว้นภาษีเพื่อส่งเสริมการลงทุน 1. การขายสลากกินแบ่งรัฐบาล 2. เงินได้จากการขายข้าวของชาวนา 3. เงินได้จากการลงทุนในตลาดหลักทรัพย์ 4. เงินได้จากการลงทุนในเขตนิคมอุตสาหกรรมเพื่อการส่งออก ตอบ 1 เงินได้จากการขายสลากกินแบ่งรัฐบาล ไม่ได้ยกเว้นภาษี แต่ถ้าเป็นสลากเพื่อการกุศลจะได้รับยกเว้นภาษี จึงไม่ถือเป็นภาษีเพื่อส่งเสริมการลงทุน 39. การทำงานของกรมสรรพากรเพื่อสร้างความเข้าใจทางบวก ต้องเริ่มจากเยาวชนระดับใด 1. ก่อนปฐม 2. ปฐมศึกษา 3. มัธยมศึกษา 4. อุดมศึกษา ตอบ 2 40. ผู้ที่มี “รายได้ไม่เพียงพอแก่การยังชีพ” ในความหมายของกรมสรรพากรหมายถึง 1. 3 หมื่นบาท 2. 5 หมื่นบาท 3. 1 แสนบาท 4. 1.5 แสนบาท ตอบ 1 41. ข้อใดมิใช่หน้าที่ของผู้เสียภาษีมูลค่าเพิ่ม 1. เรียกเก็บภาษีจากผู้ซื้อสินค้าหรือผู้รับบริการ 2. จัดทำรายงานตามที่กฎหมายกำหนด 3. ยื่นแบบแสดงรายการเพื่อเสียภาษี 4. จัดทำใบกำกับภาษี ตอบ 4 หน้าที่ของผู้ประกอบการจดทะเบียนภาษีมูลค่าเพิ่ม ประกอบด้วย 42. ผู้สอบบัญชีภาษีอากร (TA) ที่ผ่านการสอบและได้รับใบอนุญาตจากกรมสรรพากร มีอำนาจรับรองเพียงใด 1. รับรองห้างหุ้นส่วนจดทะเบียนที่จัดตั้งขึ้นตามกฎหมายไทย ที่มีทุนจดทะเบียนชำระแล้วไม่เกิน 3,000,000 บาท และมีรายได้ในรอบระยะเวลาบัญชีปีใดไม่เกิน 30,000,000 บาท 2. รับรองห้างหุ้นส่วนจดทะเบียนที่จัดตั้งขึ้นตามกฎหมายไทย ที่มีทุนจดทะเบียนชำระแล้วไม่เกิน 4,000,000 บาท และมีรายได้ในรอบระยะเวลาบัญชีปีใดไม่เกิน 30,000,000 บาท 3. รับรองห้างหุ้นส่วนจดทะเบียนที่จัดตั้งขึ้นตามกฎหมายไทย ที่มีทุนจดทะเบียนชำระแล้วไม่เกิน 5,000,000 บาท และมีรายได้ในรอบระยะเวลาบัญชีปีใดไม่เกิน 30,000,000 บาท 4. รับรองห้างหุ้นส่วนจดทะเบียนที่จัดตั้งขึ้นตามกฎหมายไทย ที่มีทุนจดทะเบียนชำระแล้วไม่เกิน 6,000,000 บาท และมีรายได้ในรอบระยะเวลาบัญชีปีใดไม่เกิน 30,000,000 บาท ตอบ 3 หน้าที่ของผู้สอบบัญชีภาษีอากร ตามที่อธิบดีกรมสรรพากรอาศัยอำนาจตามมาตรา 3 แห่งประมวลรัษฎากร โดยอนุมัติรัฐมนตรีว่าการกระทรวงการคลัง ได้ออกประกาศอธิบดีกรมสรรพากร เกี่ยวกับการตรวจสอบและรับรองบัญชี เรื่อง กำหนด ระเบียบเกี่ยวกับการตรวจสอบและรับรองบัญชี ลงวันที่ 12 มีนาคม 2544 กำหนดให้บริษัทหรือห้างหุ้นส่วนนิติบุคคลทุกขนาดกิจการ ต้องมีการตรวจสอบและรับรองบัญชีเพื่อประโยชน์แห่งการเสียภาษีอากรตามประมวลรัษฎากร สำหรับรอบระยะเวลาบัญชี ที่สิ้นสุดในหรือหลังวันที่ 31 ธันวาคม 2545 ดังนี้ 1. “ผู้สอบบัญชีภาษีอากร” (TA) ที่ขอขึ้นทะเบียนและได้รับใบอนุญาตจากอธิบดีกรมสรรพากร ให้เป็นผู้ตรวจสอบและรับรองบัญชีเฉพาะห้างหุ้นส่วนจดทะเบียนที่จัดตั้งขึ้นตามกฎหมายไทย ที่มีทุนจดทะเบียนชำระแล้วไม่เกิน 5,000,000 บาท และมีรายได้ในรอบระยะเวลาบัญชีปีใดไม่เกิน 30,000,000 บาท และมีทรัพย์สินรวมในรอบระยะเวลาบัญชี ปีใดไม่เกิน 30,000,000 บาท หรือห้างหุ้นส่วนขนาดเล็ก 2. “ผู้สอบบัญชีรับอนุญาต” (CPA) เป็นผู้ตรวจสอบและรับรองบัญชีสำหรับบริษัทและห้างหุ้นส่วนนิติบุคคล ทั้งที่ตั้งขึ้นตามกฎหมายไทยและที่ตั้งขึ้นตามกฎหมายของต่างประเทศ ทุกขนาดกิจการ รวมทั้งกิจการร่วมค้า หน้าที่สำคัญในการตรวจสอบและรับรองบัญชีที่สำคัญก็คือ ตรวจสอบและรับรองว่า บริษัทหรือห้างหุ้นส่วนนิติบุคคลมีการจัดทำบัญชีให้เป็นไปตามหลักการบัญชีที่รับรองทั่วไปหรือมาตรฐานการบัญชี หรือไม่ อันเป็นหลักการทั่วไปตามกฎหมายว่าด้วยการบัญชี เนื่องเพราะ กรมสรรพากรมีแนวคิดพื้นฐานว่า หากบริษัทหรือห้างหุ้นส่วนนิติบุคคลใดจัดทำบัญชีให้เป็นไปตามมาตรฐานการบัญชีแล้ว ก็ชอบที่จะเสียภาษีอากรให้ถูกต้องเช่นเดียวกัน 43. ผู้ส่งออกเสียภาษีมูลค่าเพิ่ม อย่างไร 1. ไม่ต้องเสียภาษีมูลค่าเพิ่ม 2. เสียในอัตรา 0 เปอร์เซ็นต์ 3. เสียในอัตรา 3 เปอร์เซ็นต์ 4. เสียในอัตรา 7 เปอร์เซ็นต์ ตอบ 2 อัตราภาษีมูลค่าเพิ่มเป็นดังนี้ 44. ผู้นำเข้าเก็บภาษีมูลค่าเพิ่ม อย่างไร 1. ไม่ต้องเสียภาษีมูลค่าเพิ่ม 2. เสียในอัตรา 0 เปอร์เซ็นต์ 3. เสียในอัตรา 3 เปอร์เซ็นต์ 4. เสียในอัตรา 7 เปอร์เซ็นต์ ตอบ 4 โดยปกติต้องเสียภาษีมูลค่าเพิ่มในอัตรา 7 เปอร์เซ็นต์ ยกเว้นสินค้านำเข้าบางประเภท เช่น วัตถุดิบอัญมณีและเครื่องประดับ สินค้าวัตถุดิบในเขตอุตสาหกรรมเพื่อการส่งออก สินค้าทางการเกษตร ได้รับยกเว้นภาษีมูลค่าเพิ่ม 45. ข้อใดไม่ถือเป็นสาระสำคัญในใบกำกับภาษี 1. ถ้อยคำที่ว่า “สำเนาคู่ฉบับ/ลายมือชื่อผู้ขาย” 2. คำว่า “ใบกำกับภาษี” ในที่ที่เห็นได้เด่นชัด 3. ชื่อ ที่อยู่ ของผู้ซื้อสินค้าหรือผู้รับบริการ 4. วัน เดือน ปี ที่ออกใบกำกับภาษี ตอบ 1 มาตรา ๘๖/๔ ภายใต้บังคับมาตรา ๘๖/๕ และมาตรา ๘๖/๖ ใบกำกับภาษีต้องมีรายการอย่างน้อยดังต่อไปนี้ (๑) คำว่า “ใบกำกับภาษี” ในที่ที่เห็นได้เด่นชัด (๒) ชื่อ ที่อยู่ และเลขประจำตัวผู้เสียภาษีอากรของผู้ประกอบการจดทะเบียนที่ออกใบกำกับภาษีและในกรณีที่ตัวแทนเป็นผู้ออกใบกำกับภาษีในนามของผู้ประกอบการจดทะเบียนตามมาตรา ๘๖ วรรคสี่ หรือมาตรา ๘๖/๒ หรือผู้ทอดตลาดเป็นผู้ออกใบกำกับภาษีในนามของผู้ประกอบการจดทะเบียนตามมาตรา ๘๖/๓ ให้ระบุชื่อ ที่อยู่ และเลขประจำตัวผู้เสียภาษีอากรของตัวแทนนั้นด้วย (๓) ชื่อ ที่อยู่ ของผู้ซื้อสินค้าหรือผู้รับบริการ (๔) หมายเลขลำดับของใบกำกับภาษี และหมายเลขลำดับของเล่ม ถ้ามี (๕) ชื่อ ชนิด ประเภท ปริมาณ และมูลค่าของสินค้าหรือของบริการ (๖) จำนวนภาษีมูลค่าเพิ่มที่คำนวณจากมูลค่าของสินค้าหรือของบริการ โดยให้แยกออกจากมูลค่าของสินค้าและหรือของบริการให้ชัดแจ้ง (๗) วัน เดือน ปี ที่ออกใบกำกับภาษี (๘) ข้อความอื่นที่อธิบดีกำหนด มาตรา ๘๖/๖ ใบกำกับภาษีอย่างย่อต้องมีรายการอย่างน้อยดังต่อไปนี้ (๑) คำว่า “ใบกำกับภาษี” ในที่ที่เห็นได้เด่นชัด (๒) ชื่อ หรือชื่อย่อ และเลขประจำผู้เสียภาษีอากรของผู้ประกอบการจดทะเบียนที่ออกใบกำกับภาษี (๓) หมายเลขลำดับของใบกำกับภาษี และหมายเลขลำดับของเล่ม ถ้ามี (๔) ชื่อ ชนิด ประเภท ปริมาณ และมูลค่าของสินค้าหรือของบริการ (๕) ราคาสินค้าหรือราคาค่าบริการ โดยต้องมีข้อความระบุชัดเจนว่าได้รวมภาษีมูลค่าเพิ่มไว้แล้ว - 56 - (๖) วัน เดือน ปี ที่ออกใบกำกับภาษี (๗) ข้อความอื่นที่อธิบดีกำหนด 46. เงินได้จากการส่งไปรษณีย์ทายผลชิงโชคต่างๆ เป็นเงินได้ประเภทใด 1. ประเภทที่ 2 2. ประเภทที่ 4 3. ประเภทที่ 7 4. ประเภทที่ 8 ตอบ 4 ประเภทที่ 8 โดยถือเป็นเงินได้อื่นนอกจากที่ระบุไว้ในประเภท (1) ถึง (7) มาตรา ๔๐ เงินได้พึงประเมินนั้น คือ เงินได้ประเภทดังต่อไปนี้รวมตลอดถึงเงินค่าภาษีอากรที่ผู้จ่ายเงินหรือผู้อื่นออกแทนให้สำหรับเงินได้ประเภทต่าง ๆ ดังกล่าว ไม่ว่าในทอดใด “………” (เจ๋ง เงินได้จากการธุรกิจ การพาณิชย์ การเกษตร การอุตสาหกรรม การขนส่ง หรือการอื่นนอกจากที่ระบุไว้ใน (1) ถึง (7) แล้ว 47. ความหมายของ “ภาษีการขาย” ข้อใดผิด 1. ภาษีมูลค่าเพิ่มที่ผู้ประกอบการจดทะเบียนได้เรียกเก็บหรือพึงเรียกเก็บจากผู้ซื้อสินค้าหรือผู้รับบริการ 2. ภาษีมูลค่าเพิ่มที่ผู้ประกอบการจดทะเบียนมีหน้าที่เสียในกรณีที่เป็นการขายสินค้า 3. ภาษีมูลค่าเพิ่มที่ผู้ประกอบการจดทะเบียนมีหน้าที่เสียกรณีที่เป็นการให้บริการ 4. ไม่มีข้อใดผิด ตอบ 4 มาตรา ๗๗/๑ ให้หมวดนี้ เว้นแต่ข้อความจะแสดงให้เห็นเป็นอย่างอื่น “………” (๑๗) “ภาษีขาย” หมายความว่า ภาษีมูลค่าเพิ่มที่ผู้ประกอบการจดทะเบียนได้เรียกเก็บหรือพึงเรียกเก็บจากผู้ซื้อสินค้าหรือผู้รับบริการตามมาตรา ๘๒/๔ วรรคหนึ่ง และภาษีมูลค่าเพิ่มที่ผู้ประกอบการจดทะเบียนมีหน้าที่เสียในกรณีที่เป็นการขายสินค้าตาม (ง) (จ) (ฉ) หรือ (ช) ของ (๘) หรือในกรณีที่เป็นการให้บริการตาม (๑๐) แต่ไม่รวมถึงภาษีที่ต้องเสียตามมาตรา ๘๒/๑๖ 48. การออกหนังสือรับรองหัก ณ ที่จ่าย เงินได้ประเภทที่ 1 ต้องออกภายในกำหนดใด 1. ภายในวันที่ 1 มกราคมของปีถัดจากปีภาษี 2. ภายในวันที่ 15 กุมภาพันธ์ของปีถัดจากปีภาษี 3. ออกในทันทีทุกครั้งที่มีการหักภาษี ณ ที่จ่าย 4. ภายในหนึ่งเดือนนับแต่วันที่มีการหักภาษี ณ ที่จ่าย ตอบ 2 มาตรา ๕๐ ทวิ ให้ผู้มีหน้าที่หักภาษี ณ ที่จ่าย ออกหนังสือรับรองการหักภาษี ณ ที่จ่ายที่ได้หักไว้แล้วในปีภาษี ให้แก่ผู้ถูกหักภาษี ณ ที่จ่ายสองฉบับมีข้อความตรงกัน ในกรณีและตามกำหนดเวลา ดังต่อไปนี้ (๑) ในกรณีตามมาตรา ๓ เตรส ให้ออกในทันทีทุกครั้งที่มีการหักภาษี ณ ที่จ่าย (๒) ในกรณีตามมาตรา ๕๐ (๑) ให้ออกภายในวันที่ ๑๕ กุมภาพันธ์ของปีถัดจากปีภาษี หรือภายในหนึ่งเดือนนับแต่วันที่ผู้ถูกหักภาษี ณ ที่จ่ายออกจากงานในระหว่างปีภาษี (๓) ในกรณีตามมาตรา ๕๐ (๒) (๓) หรือ (๔) ให้ออกในทันทีทุกครั้งที่มีการหักภาษี ณ ที่จ่าย มาตรา ๕๐ ให้บุคคล ห้างหุ้นส่วน บริษัท สมาคม หรือคณะบุคคลผู้จ่ายเงินได้พึงประเมินตามมาตรา ๔๐ หักภาษีเงินได้ไว้ทุกคราวที่จ่ายเงินได้พึงประเมินตามวิธีดังต่อไปนี้ (๑) ในกรณีเงินได้พึงประเมินตามมาตรา ๔๐ (๑) และ (๒) ….” (๒) ในกรณีเงินได้พึงประเมินตามมาตรา ๔๐ (๓) และ (๔) ….” (๓) ในกรณีเงินได้พึงประเมินตามมาตรา ๔๐ (๕) และ (๖) ….” “……….” มาตรา ๓ เตรส ในกรณีจำเป็นเพื่อประโยชน์ในการจัดเก็บภาษีให้อธิบดีมีอำนาจออกคำสั่งให้ผู้จ่ายเงินได้พึงประเมินตามมาตรา ๔๐ ซึ่งไม่มีหน้าที่หักภาษี ณ ที่จ่ายตามลักษณะ ๒ หักภาษี ณ ที่จ่ายตามหลักเกณฑ์ เงื่อนไขและอัตราที่กำหนดโดยกฎกระทรวง ในการนี้ให้นำมาตรา ๕๒ มาตรา ๕๓ มาตรา ๕๔ มาตรา ๕๕ มาตรา ๕๘ มาตรา ๕๙ มาตรา ๖๐ และมาตรา ๖๓ มาใช้บังคับโดยอนุโลม 49. นิยาม “ขาย” ตามข้อใดไม่ใช่นิยามดังกล่าวในประมวลรัษฎากร 1. จำหน่าย จ่าย โอนสินค้า เฉพาะที่มีประโยชน์หรือค่าตอบแทน 2. ส่งสินค้าออกนอกราชอาณาจักร 3. ซื้อขายผ่อนชำระที่กรรมสิทธิ์ในสินค้ายังไม่โอนไปยังผู้ซื้อเมื่อได้ส่งมอบสินค้าให้ผู้ซื้อแล้ว 4. ส่งมอบสินค้าให้ตัวแทนเพื่อขาย ตอบ 1 มาตรา ๗๗/๑ ในหมวดนี้ เว้นแต่ข้อความจะแสดงให้เห็นเป็นอย่างอื่น - 58 - “………” (๘) “ขาย” หมายความว่า จำหน่าย จ่าย โอนสินค้า ไม่ว่าจะมีประโยชน์หรือค่าตอบแทนหรือไม่ และให้หมายความรวมถึง (ก) สัญญาให้เช่าซื้อสินค้า สัญญาซื้อขายผ่อนชำระที่กรรมสิทธิ์ในสินค้ายังไม่โอนไปยังผู้ซื้อเมื่อได้ส่งมอบสินค้าให้ผู้ซื้อแล้ว หรือสัญญาจะขายสินค้าที่เป็นไปตามหลักเกณฑ์และเงื่อนไขที่อธิบดีกำหนดโดยอนุมัติรัฐมนตรี (ข) ส่งมอบสินค้าให้ตัวแทนเพื่อขาย (ค) ส่งสินค้าออกนอกราชอาณาจักร (ง) นำสินค้าไปใช้ไม่ว่าประการใด ๆ เว้นแต่การนำสินค้าไปใช้เพื่อการประกอบกิจการของตนเองโดยตรงตามหลักเกณฑ์ วิธีการ และเงื่อนไขที่อธิบดีกำหนด (จ) มีสินค้าขาดจากรายงานสินค้าและวัตถุดิบตามมาตรา ๘๗ (๓) หรือมาตรา ๘๗ วรรคสอง (ฉ) มีสินค้าคงเหลือและหรือทรัพย์สินที่ผู้ประกอบการมีไว้ในการประกอบกิจการ ณ วันเลิกประกอบกิจการ แต่ไม่รวมถึงสินค้าคงเหลือและหรือทรัพย์สินดังกล่าวของผู้ประกอบการซึ่งได้ควบเข้ากันหรือได้โอนกิจการทั้งหมดให้แก่กัน ทั้งนี้ ผู้ประกอบการใหม่ อันได้ควบเข้ากันหรือผู้รับโอนกิจการต้องอยู่ในบังคับที่ต้องเสียภาษีมูลค่าเพิ่มตามมาตรา ๘๒/๓ (ช) กรณีอื่นตามที่กำหนดในกฎกระทรวง 50. นำผลไม้เข้าจากประเทศจีนต้องเสียภาษีมูลค่าเพิ่มหรือไม่ 1. ไม่ต้องเสียภาษีมูลค่าเพิ่ม 2. เสียในอัตรา 0 เปอร์เซ็นต์ 3. เสียในอัตรา 3 เปอร์เซ็นต์ 4. เสียในอัตรา 7 เปอร์เซ็นต์ ตอบ 1 การนำเข้าผักผลไม้พืชผลทางการเกษตรได้รับยกเว้นภาษีมูลค่าเพิ่ม ทั้งนี้ ตามมาตรา 81(2) (ก) (ข) ประกอบ 81(1)(ก) แห่งประมวลรัษฎากร
จำหน่ายเอกสารแนวข้อสอบกรมสรรพกรใหม่ล่าสุด
รวมทุกอย่างที่ออกข้อสอบ - ความรู้เกี่ยวกับกรมสรรพกร - แนวข้อสอบ กฎหมาย ระเบียบสำนักนายกรัฐมนตรีว่าด้วยพนักงานราชการ พ.ศ.2547 - แนวข้อสอบเกี่ยวกับภาษีอากร - ความรู้เกี่ยวกับภาษีอากร เลือกตามตำแหน่งที่สอบ เจ้าพนักงานภาษีสรรพากร พนักงานภาษีสรรพากร
....เหมาะสำหรับผู้ที่ไม่มีเวลาออกไปซื้อหนังสือ หรือออกไปติว
....สรุป เนื้อหาครบถ้วน อ่าน และเข้าใจง่าย
>>มีตัวอย่างข้อสอบ พร้อมเฉลย แม่นยำ<<
....การันตีคุณภาพ ราคาประหยัด....
รวมข้อสอบเก่าเด็ดๆ และข้อสอบที่ออกบ่อยๆ รวบรวมข้อสอบจากรุ่นพี่ที่สอบได้ จากสนามจริง
** ติดต่อสอบถาม/สั่งซื้อแนวข้อสอบ โทร 0833437605 (ครูศรินณา) Line ID : nongnoi124
[ส่งไฟล์รวดเร็วทันใจ พร้อมอ่าน]
-ส่งเป็นไฟล์ PDF ปริ้นอ่านได้เลย ราคาเพียง 399 บาท (ได้รับภายในวันที่สั่งซื้อ)
-ส่งแบบหนังสือ + MP3 ส่งทางไปรษณีย์ ราคา 799 บาท (ฟรีส่ง EMS + MP3)
โปรดระวังพวกซื้อไปขายต่อ ข้อมูลจะไม่อัพเดต
กรุณาชำระค่าสินค้าและบริการ
เลขที่บัญชี 619-2-17391-2 ธ.กสิกรไทย
สาขา บิ๊กซี พระรามที่ 2 ประเภท ออมทรัพย์ ชื่อบัญชี กฤษฎาพร เหมวันต์
โอนเงินแล้วแจ้งที่ sarinna.jansena@gmail.com หรือ Line ID : nongnoi124
*** ห้ามพลาด....ข้อสอบใหม่ล่าสุดพร้อมเฉลย***
|
ไม่มีความคิดเห็น:
แสดงความคิดเห็น